ยุคสมัยนี้ผู้คนนิยมบริโภคอาหารตามกระแสกันมาก เพื่อไม่ให้ตนเองตกเทรน หรือไม่อยู่ในกระแสนิยมนั่นเองค่ะ แต่จะอย่างไรก็ตาม นี่จะเป็นสิ่งที่บ่งบอกได้อีกว่า เดี๋ยวนี้ ปัจจุบันวันนี้ ผู้บริโภคใช้ความรู้ ความเข้าใจ และใส่ใจในการเป็นผู้บริโภคที่ชาญฉาลด ช่างเลือกสรรสิ่งที่ดีๆ ให้กับตนเอง และสมาชิกอันเป็นที่รักในครอบครัวกันมากยิ่งขึ้นกว่าสมัยก่อนๆ ด้วยเหตุนนี้เอง จึงทำให้ผู้ผลิต ผู้เพาะปลูก หรือเกษตรกร ก็จะต้องใส่ใจเลือกสิ่งที่จะเหมาะสม ที่สำคัญต้องดีและปลอดภัย ไร้สารพิษตกค้าง และห่วงใยใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการที่เกษตรกรที่ปลูกพืชลงดินปกติแล้วรู้สึกถึงความแปรปรวนทางธรรมชาติกันมากยิ่งขึ้น เดี๋ยวฝนตก ฟ้าร้อง น้ำท่วม แดดแรงเกินไปจนภัยแล้งมาเยี่ยมเยือนอย่างที่ควบคุมไม่ได้ ไฟป่า ศัตรูพืช วัชรพืช และอีกมากมาย มาก่อกวนการเพาะปลูกอยู่เสมอๆ เหตุนี้เอง จึงเป็นแรงบันดาลใจให้เกษตรรุ่นใหม่หัวใจเกินร้อย ที่ชอบศึกษา แสวงหาแนวทางการทำเกษตรแนวใหม่ หันมาเลือกวิธีทำการเกษตรแบบ "ปลูกผักไร้ดิน" หรือจะเรียก "ผักไฮโดรโปนิค"เป็นทางเลือกที่ตนเองสามารถกำหนดทิศทางของตัวแปรในการเพาะปลูกของพืชพันธุ์ธัญญาหารได้อย่างที่ท่านผู้บริโภคก็รู้สึกชอบที่ดูแล้วสะอาด สะดวก และปลอดภัยมากยิ่งขึ้น เพราะเนื่องจากการเพาะปลูกพืชระบบไฮโดรโปนิค นั้น จำเป็นต้อง มีโรงเรือนที่มิดชิด เพื่อป้องกันแมลงเข้ามากัดกินพืชผัก และ มีระบบหล่อเย็น เพื่อระบายอากาศที่อาจจะร้อน ก็ต้องมีระบบระบายความร้อนด้วยพัดลมติดตั้งตามจุดที่เหมาะสม และเพียงพอต่อโรงเรือนปิดแบบนี้ และหรือตรงกันข้าม หากอากาศเย็นเกินไปก็อาจจะต้องมีระบบให้ความอบอุ่นตามอุณหภูมิที่พืชเจริญเติบโตได้ดีอีกระบบด้วยค่ะ ที่สำคัญการปลูกพืชตระกูลผักสลัดนั้น นิยมเพาะเลี้ยงกันแบบมีระบบน้ำไหลเวียนตามกรรมวิธีที่ควบคุมค่า PH หรือค่าความเป็นกรดเป็นด่างที่พอเหมาะ เช่น หน้าร้อนควรเพาะปลูกผักที่ค่า PH ประมาณ 6.5 - 7 สำหรับหน้าหน้าฝนควรปลูกผักที่ PH ประมาณ 6.0 - 6.5 และหน้าหนาวควรปลูกผักที่ PH ประมาณ 5.5 - 6.0 เป็นต้น ทั้งนี้ก็เพื่อให้ผักสลัดเหล่านี้สามารถเจริญเติบโตได้ดี และมีภูมิต้านทานต่อโรค และสิ่งที่มารบกวนได้ดีขึ้นนั่นเองค่ะ เพราะการปลูกพืชไร้ดินจำเป็นต้องให้อาหารกับพืชทางราก และทางใบ โดยพืชจะสามารถเจริญเติบโตไปตามอายุของเขา สำหรับผักสลัดเหล่านี้ เช่น ผักสลัด เรดโอ๊ค (Lettuce Red Oak) , ผักสลัดเรดคอร์รอล, ผักสลัดใบแดง (Lettuce Red Salad bowl) , ผักสลัด เรดคอส (Red Garnet Cos) , ผักสลัดแดงทับทิม (Lettuce Ruby) , สลัดไพรส์เฮท (Prize Head) , สลัดเรดบัตเตอร์เฮท (butter head continuity) , ผักสลัด เรดไอซ์เบิกร์ก (Crisphead RED Iceberg) , ผักสลัด (Bronze Guard), ผักสลัด (Deep-red Cos), สลัดมิซูน่าเรด 'Red Mizuna' , ผักสลัด Lettuce 'Green oak' , ผักสลัด Lettuce 'Green Salad bowl' , ผักสลัด (Black Seeded Simpson) , ผักสลัดไอซ์คอส (Ice cos) , ผักสลัดโอ๊คลีฟ (Oak leaf) , สลัดแก้วห่อ (Crisphead Great lakes) , ผักสลัดกรีนคอส (Green cos) , ผักสลัด (Baby cos) , พันธุ์สลัดมิซูน่ากรีน (Mizuna Green) , ร็อคเก็ต (Arugula), ผักสลัดกรีนไอสซ์ (Green Ice) มักจะใช้ระยะเวลาสร้างความเจริญเติบจนกว่าจะเก็บไปรับประทาน หรือจำหน่ายปกติประมาณ 55 วัน หรือประมาณ 2 เดือน ค่ะ แต่จากผลการทดลองกับแปรงผักสลัด ของ "สวนสุภัทราแลนด์" แล้ว พบว่าอายุการเก็บเกี่ยวลดลงเหลือประมาณ 45 - 50 วัน เท่านั้น ก็ส่งไปจำหน่ายให้กับนักท่องเที่ยวที่มาเยี่ยมสวนได้ทุกวันค่ะ ไม่ต้องรอนานเหมือนเมื่อก่อน แถมใบดกหนาแน่น น้ำหนักจึงดี และทรงพุ่มสวยงาม หน้ารับประทานมากๆ ค่ะ
http://www.phikanes.com/ข้อมูลเรื่องปุ๋ย/ธาตุอาหารของพืช.html
สำหรับผู้ที่กำลังมองหา "อาหารเสริมพืช" ดีๆ ไว้บำรุงสลัดผักของท่านให้ทันต่อการจัดจำหน่ายแล้วละก็ ณิคกี้ขอแนะนำ "อาหารเสริมพืช วายไอซี แคปซูลนาโน" และ วายไอซี นาโน พลัส (YIC Capsule Nano สูตรจากประเทศ Canada & Israel) ไว้ฉีดพ่นทางใบให้กับผักสลัดของท่านได้อย่างประหยัด และลดต้นทุน และลดระยะเวลาเก็บเกี่ยวให้เร็วยิ่งขึ้นด้วย ที่สำคัญปลอดภัย ไร้สารตกค้างเพราะเป็นปุ๋ยแบบนาโนเทคโนโลยี่นั่นเองค่ะ ให้ท่านผู้อ่านจิตนาการง่ายๆ ว่าปัจจุบันนี้ นักบินอาวกาศ เขาขึ้นไปบินอยู่นอกโลก โดยระหว่างการปฎิบัติภารกิจเขาเหล่านั้นได้พกข้าวสารไปเป็นตันๆ เป็นเกวียนๆ ไปไว้รับประทานไหมคะ?! เพื่อทำให้พวกเขามีชีวิตรอดกลับมายังโลกเหมือนเดิมไหมคะ? เปล่าเลย ก็เพราะเขาเพียงแค่พกอาหารที่สกัดด้วยระบบนาโนที่มีน้ำหนักเบา และขนาดเล็กเท่าแคปซูล ไปไว้รับประทาน และได้รับสารอาหารที่จำเป็นครบ และเพียงพอเท่านั้นเองละค่ะ และเช่นกัน นักวิทยาศาสตร์เขาก็พยายามคิดค้นสูตรที่ดี ที่เบา ที่นาน ที่ลดต้นทุน แต่มีประสิทธิภาพเท่าเดิม และ/หรือดีกว่าเดิมมาทดแทน ดังนั้นในสมัยนี้ "นวัตกรรมใหม่" ที่ออกมาสู่ชาวโลกทั้งอาหารการกิน เครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ และร่วมทั้งปุ๋ยก็กลายเป็นสิ่งที่พวกนักวิทยาศาสตร์ได้ทำการวิจัยค้นคว้าและพัฒนาจนมาเป็นเพียง "วัตถุขนาดเล็กๆ เบา เพื่อการขนส่งที่สะดวกและปลอดภัยยิ่งขึ้น" นั่นเองค่ะ หากท่านใดเข้าใจที่กี้ได้สื่อไป และมีความต้องการทดลองใช้ (YIC.Capsule Nano 6 แคปซูล=300 บ.+YIC.Nano Plus 1ขวด 50C.C.ราคา 350 บ.รวมเป็นเงินชุดเล็กนี้เพียง 650บ. รวมค่าส่งแล้ว) และ/หรือจะสอบถามก่อนสั่งซื้อยกแพ็ค 120 แคปซูล ราคาสมาชิกเพียง 2,500 บาท (ตกแคปซูลละประมาณ 20 บาท) และสำหรับไคโตซาน วายไอซี นาโน พลัส (YIC Nano Plus) ขนาดบรรจ 500 ซี.ซี. (ครึ่งลิตร) เพียงขวดละ 2,500 บาท (ราคาสมาชิก) ก็โทรมาหาณิคกี้ที่ 08-9601 5286 และ/หรือที่ E-mail:preeyapat.ka@live.com ได้ตลอด 24 ช.ม. ค่ะ ท่านสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://www.phikanes.com/ และ http://www.yiccthailand.com/ ถึงวิธีใช้ และ อัตราที่ถูกต้องเหมาะสมได้ค่ะ
**ปัจจับัน ค่าสมัครสมาชิกตลอดชีพได้ปรับเป็น 500บ.แล้วมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค.56
ชุดนี้ปกติ 3,500 บาท แต่สำหรับสมาชิกเพียง 3,000 บ.ค่ะ ประกอบด้วยค่าปุ๋ย2,500บ.+ค่าสมัครตลอด500บ.สามารถ เลือกรับสินค้าทดลองมูลค่า 850-1,500บ. หรือรับสินค้าชุดทดลอง 1 ชิ้น พร้อมกับคู่มือนำเสนอธุรกิจ 1 เล่ม ก็ได้ค่ะ มี 120 แคปซูล พร้อมกับ YIC.นาโนพลัสน้ำ 50 C.C.เป็นค่าสมัคร สำหรับผสมน้ำฉีดพ่นนาข้าวได้กว่า 60 - 70 ไร่ เมื่อหมดแล้วมาซื้อได้ใหม่เพียงกระปุกละ 2,500 บ. |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น