PHIKANES2515

วันจันทร์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2553

บิววาเรียกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล,เพลี้ยกระโดดตายลอยเป็นแพเพราะสูตรอินทรีย์,ไรซ์โกล์ดและดับเบิ้ลอีป้องกันและคุมไข่เพลี้ยได้ผลดี,บิววาเรียพร้อมฉีดมีขายที่นี่,ขายบิววาเรียราคาถูก,ตัวแทนจำหน่ายบิววาเรียทริปโตฝาจชลบุรี,เพลี้ยแป้ง แมลงหนามดำ ด้วงกินมะพร้าวกำจัดด้วยบูวาเรีย

 

    
อาหารเสริมพืช YIC แคปซูลนาโน สูตรจากประเทศแคนาดาและอิสราเอล
บรรจุ 120 แคปซูล / 2,500 บ. (ราคาสมาชิก) ราคาปกติ 3,500 บ.
ใช้ได้กับนาข้าว 60 ไร่
(มีแบบแบ่งขายเพื่อทดลอง 6 Capsules 300 บ. หรือ 20 Capsules 600 บ.(รวมค่าส่ง EMS)
สั่งซื้อ"หัวเชื้อจุลินทรีย์บิววาเรียทริปโตฝาจ" ได้ที่
คุณปรียาภัสสร์ (ณิคกี้)โทร.08-9601 5286 ราคา 150 บาท(ไม่รวมค่าส่ง)



เมื่อเดือนกันยายน 53 ที่ผ่านมา ดิฉันได้รับการติดต่อจากเกษตรกรที่ ต.หนองกลับ อ.หนองบัว จ.นครสวรรค์ ด้วยปัญหาที่พวกเขาแก้ไม่ตก  เนื่องจาก "เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลระบาดในนาข้าว" ของพวกเขาอย่างหนัก  ดังนั้นหนทางแก้ไขก็ต้องใช้การสังเกตุวิเคราะห์จากการไปพบปะกับพวกเขาด้วยการลงพื้นที่จริง  ให้เห็นกับตา ได้ฟังจากปาก ปัญหาคือเพลี้ยกระโดดลงนาจริงหรือไม่  ที่ผ่านมาพวกเขาแก้ปัญหาเองอย่างไร



และสิ่งที่เราช่วยพวกเขาได้ คือ การแนะนำ แชร์ประสบการณ์ และให้ความรู้ที่เหมาะสม ประหยัด สะดวกและปลอดภัยกับตัวเกษตรกรเอง  ตรงนี้เราได้เน้นเรื่องการกำจัดวงจรของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ให้ตรงประเด็นด้วยการ กำจัดตัวเพลี้ย คุมไข่ และป้องกัน ในคราวเดียวกัน  เพื่อให้เกิดประสิทธิผลคุ้มค่าการลงทุนลงแรงของเกษตรกร โดยกลุ่ม "พระพิฆเนศวร์ทีม" ได้แนะนำให้เกษตรกรได้รู้จัก "ผลิตภัณฑ์ทางการเกตร" จาก บมจ.เอ ไอ บิสเน็ต (ไทย) คือ "เอ.ไอ โฮโลนิค (500 ซี.ซี.)+ เอ.ไอ เทอร์โบ (500 กรัม)" โดยนำทั้ง 2 ตัวมาผสมกับ "เชื้อราบิววาเรียทริปโตฝาจ 1 ซอง ผสมน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นได้ 5 ไร่" หากต้องการบำรุงข้าวไปพร้อมกันก็ให้ผสม "อาหารเสริมพืช วายไอซีแคปซูลนาโน YIC.Capsule Nano ในอัตรา 2 แคปซูลต่อนาข้าว 1 ไร่ต่อน้ำ 40 ลิตร ดังนั้น หากน้ำ 200 ลิตร ก็ใช้ผสมไป 10 แคปซูล" และหลังจากนำทุกอย่างมาผสมกันเสร็จเรียบร้อยแล้วให้เกษตรกรนำไปฉีดที่แปรงนาข้าวที่โดนเพลี้ยเล่นงานอยู่ ซึ่งสามารถฉีดพ่นได้พื้นที่ถึง 20 - 25 ไร่ เพียงเท่านี้เกษตรกรก็ได้กำจัดเพลี้ยที่ระบาดในแปรงนาข้าวอย่างสามารถหลีกเลี่ยงสารเคมีได้แล้วละค่ะ 
ว่าแต่เอ...ทำไมเราจึงแนะนำให้ท่านหา "เชื้อราบิววาเรียและเมธาไรเซียม" มากำจัดเพลี้ยนะ  ก็เพราะ"กรมส่งเสริมวิชาการเกษตร" ได้ตระหนักถึงความปลอดภัยกับเกษตรกรมากยิ่งขึ้น  ทั้งนี้ก็เพราะว่าหลังจากฉีดพ่นเชื้อราบิววาเรียและเมธาไรเซียมนั้น เป็นจุลินทรีย์ที่ปลอดภัยกับผู้ใช้ไปที่พืชของเกษตรกรที่โดนรบกวนด้วยศัตรูพืชแล้ว ไม่ว่าจะเป็นพวก เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยแป้ง เพลี้ยไฟ ไรแดง แมลงบั่ว และอื่นๆตัว พวกมันจะพากค่อยๆ ป่วยตายไปในที่สุด เนื่องจากเจ้าเชื้อจุลินทรีย์ไปแตกสปอร์ในตัวของพวกมัน ทำให้มันไม่อยากกินข้าว กินอาหาร จนสุดท้ายก็ป่วยตายไปเอง ในระยะเวลาประมาณ 1-2 สัปดาห์ ดังนั้นสิ่งที่เกษตรกรก็ควรจะทำควบคู่ก็คือการฟื้นฟูบำรุงต้นข้าวด้วย "อาหารเสริมพืช วายไอซี.แคปซูลนาโน(YIC CAPSULE NANO)"จากข้อมูลที่กล่าวมาทั้งหมดหากท่านใดยังไม่ค่อยเข้าใจ ต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติม ท่านสามารถสอบถามได้ที่ คุณปรียาภัสสร์ (ณิคกี้) ที่โทร.0896015286 และ/หรือสนใจสมัครเป็นสมาชิกซื้อใช้ในราคาประหยัด หรือเปิดโมบายปุ๋ย ที่ ตำบล อำเภอ จังหวัด ของท่าน  กรุณาส่งหลักฐานการสมัครมาที่ E-mail:preeyapat.ka@live.com ได้ตลอด 24 ช.ม. หรือชมจาก http://www.phikanes.com/วิธีกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล.html ก็ได้ค่ะ

เชื้อราบิววาเรียและเมตาไรเซียม "ทริปโตฝาจ"
ราคา 150 บ. หนัก 1/2 ก.ก.
(ไม่รวมค่าส่ง)

หากท่านเกษตรกรต้องการเพิ่มประสิทธิภาพในการกำจัดตัดตอนวงจรของเพลี้ย ควรใช้สูตร "กำจัด (ฆ่า) + ควบคุมไข่เพลี้ย+ป้องกัน+บำรุง" (4 in 1) จะทำให้กำจัดเพลี้ยได้ผลยิ่งขึ้น โดยเน้นเลือกฉีดแปรงที่ยังมีสีเขียวจากต้นข้าวบ้างเท่านั้น ไม่ควรเลือกฉีกแปรงที่ข้าวมีสีเหลืองแห้งเพราะต้นข้าวเหล่านั้นได้รับการปล่อยไวรัสจากเพลี้ยเรียบร้อยแล้ว หากฉีดไปก็ไม่ได้ผล และหมดเปลืองเสียเปล่าค่ะ


ดับเบิ้ล-อี สารจับใบ พร้อมออกฤทธิ์
คุมไข่หนอนแมลง
ราคาขวดละ 450 บ. น้ำหนัก 1 ลิตร
(ไม่ร่วมค่าส่ง)

"ดับเบิ้ล-อี" เลิกผลิตแล้ว
    แต่แทนด้วย "เอ.ไอ โฮโลนิค"




                                                                                    
ไรซ์โกล์ด สารกำจัดเชื้อรา และป้องกันเพลี้ย
ได้ผลดี ราคากระป๋องละ 850 บาท
หนัก 500 กรัม
(ไม่รวมค่าจัดส่ง)
 "ไรซ์โกล์ด" เลิกผลิตแล้ว    
 แต่แทนด้วย "เอ.ไอ เทอร์โบ"


เตือนเกษตรกรระวังโรคใบหงิกต้นข้าว จากเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(21 มี.ค.55)
     เมื่อวันที่ 20 มี.ค. นายสมศักดิ์ วรรณะ เกษตรจังหวัดชัยนาท เปิดเผยว่า สำหรับโรคใบหงิกต้นข้าว เป็นโรคที่ทำให้ผลผลิตข้าวลดลงอย่างมาก ต้นข้าวที่เป็นโรคนี้จะเตี้ย แคระแกร็นไม่ออกรวงหรือหดสั้น ใบธงบิดม้วนงอ หากระบาดมากจะทําให้เกิดผลผลิตข้าวเสียหายอย่างรุนแรง ซึ่งเกิดจากเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลเป็นพาหะของโรค  ทั้งนี้ วงจรชีวิตของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลนั้น ระยะไข่ 7-8 วัน ตัวอ่อน 16-17 วัน ตัวเต็มวัย 14 วัน การระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลเกิดจากเกษตรกรใช้พันธุ์ข้าวที่ไม่ต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล และใช้อัตราเมล็ดพันธุ์มากเกิน 20 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งการปลูกอย่างหนาแน่น จะส่งผลให้สภาพแวดล้อมในนาข้าวไม่เหมาะสมกับเจริญเติบโต กอปรกับเกษตรกรบางรายมักจะใช้ปุ๋ยเคมีที่ผิดสูตร ผิดอัตราและช่วงระยะเวลาของการใช้ปุ๋ยแต่ละชนิด โดยเฉพาะการใช้ปุ๋ยยูเรียมากเกินไป และใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชผิดชนิดและผิดวิธี โดยเฉพาะสารกลุ่มไพรีทรอยด์สังเคราะห์ เช่น แอลฟาไซเพอร์มิทริน ไซเพอร์มิทริน ไซแฮโลทริน เดคาเมทริน เอสเฟนแวเลอเรตเพอร์มิทริน ไตรอะโซฟอส ไซยาโนเฟนฟอส ไอโซซาไทออน ไฟริดาเฟนไทออน ควินาลฟอสเตตระคลอร์วินฟอส และสารอะบาเม็กติน เป็นต้น ซึ่งจะทําให้เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลต้านทานต่อสารเคมี และมีปริมาณการแพร่ระบาดมากยิ่งขึ้น(ขอขอบพระคุณข้อมูลจาก : ไทยรัฐ 21032555)


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น